แนวทางการดำเนินกิจกรรมปกปักทรัพยากรในพื้นที่ปกปักทรัพยากร
1. การทำขอบเขตพื้นที่ปกปักทรัพยากร

2. การสำรวจ ทำรหัสประจำต้นไม้ ทำรหัสพิกัด เพื่อรวบรวมเป็นฐานข้อมูลในพื้นที่
ของหน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดำริ

3. การสำรวจ ทำรหัสพิกัด และค่าพิกัดของทรัพยากรชีวภาพอื่นๆ นอกเหนือจาก
พันธุกรรมพืช เช่น สัตว์ จุลินทรีย์

4. การสำรวจ ทำรหัสพิกัด และค่าพิกัดของทรัพยากรกายภาพ เช่น ดิน หิน แร่ธาตุต่างๆ
คุณภาพน้ำ คุณภาพอากาศ เป็นต้น

5. การสำรวจเก็บข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการใช้ทรัพยากร
กายภาพและทรัพยากรชีวภาพในพื้นที่

6. สนับสนุนให้มีอาสาสมัครปกปักรักษาทรัพยากรในพื้นที่สถานศึกษา เช่น นักศึกษาใน
มหาวิทยาลัย ในระดับหมู่บ้าน ตำบล สนับสนุนให้ประชาชนที่อยู่รอบๆ พื้นที่ปกปักทรัพยากร
เช่น มีกิจกรรมป้องกันไฟป่า กิจกรรมร่วมมือร่วมใจรักษาทรัพยากรในพื้นที่ปกปักทรัพยากร
เป็นต้น

ข้อมูลที่ได้นำมารวบรวมเป็นฐานข้อมูลในพื้นที่ขององค์กรต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงาน
ราชการ หรือเอกชนที่เข้าร่วมสนองพระราชดำริ เพื่อการนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป


 
 
 
 

 l โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ l กิจกรรมโครงการ l สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน l ข้อมูลพรรณไม้ l เอกสารโครงการ l โครงการทดลองปลูกพืชพรรณ l

 l Home l Webboard l RSPG e-Mail l Web Links l สำนักงาน อพ.สธ l ชมรมคณะปฏิบัติงานวิทยาการ I สารพรรณพฤกษ์ Iห้องสมุด อพ.สธ. I

 

สำนักงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สวนจิตรลดา ถ.ราชวิถี เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๓
โทร. ๐-๒๒๘๒-๑๘๕๐, ๐-๒๒๘๒-๐๖๖๕ โทรสาร ๐-๒๒๘๒-๐๖๖๕
E-mail : admin@plantgenetics-rspg.org

 
 
 
 

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ.๒๕๔๔ ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.๒๕๓๗
ห้ามนำข้อมูลของเครือข่ายนี้ ไปเผยแพร่ต่อโดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร